คุณสมบัติของคลื่นเสียง
|
เสียงมีสมบัติของคลื่นครบทั้ง 4 ประการ คือ สะท้อน หักเห แทรกสอด และเลี้ยวเบน ดังนี้ 1 เสียงสะท้อน การสะท้อนของเสียง คือ เสียงจากแหล่งกำเนิดเสียง ตกกระทบวัตถุแล้วสะท้อนกลับมาที่เดิม เสียงสะท้อนกลับ คือเสียงที่สะท้อนกลับมาสู่หู ช้ากว่าเสียงที่ตะโกนออกไปเกิน วินาทีหูจึงจะสามารถ แยกเสียงที่ตะโกนกับเสียงสะท้อนกลับมาได้
การสะท้อนของคลื่นจะเกิดขึ้นได้ีเมื่อวัตถุหรือสิ่งกีด
ขวาง มีขนาดโตกว่าความยาวคลื่นที่ตกกระทบ 2 การหักเหของเสียง เสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งผ่านไปยังอีกตัวกลาง จะเกิดการหักเหเช่นเดียวกับคลื่นผิวน้ำเช่นเห็นฟ้าแลบ โดยไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้องเนื่องจากคลื่นเสียงเคลื่อนท ี่ ผ่านอากาศร้อนได้เร็วกว่าอากาศเย็นอัตราเร็วของเสียง จึงน้อยกว่าบริเวณใกล้ผิวโลก 3 การแทรกสอดของเสียง เสียงมีคุณสมบัติสามารถ แทรกสอดกันได้เมื่อฟังเสียงบริเวณที่มีการแทรกสอด กันจะได้ยินเสียงดังค่อยต่างกันซึ่งจะได้ศึกษาต่อไป 4 การเลี้ยวเบนของเสียง เสียงสามารถเคลื่อนที่อ้อมสิ่งกีดขวางไปด้านหลังของ สิ่งกีดขวางได้ เช่นเดียวกับ คลื่นผิวน้ำ ซึ่งจะพบเห็นใน ชีวิตประจำวันอยู่เสมอ |
วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2555
คลื่นเสียง
คลื่นแสง
ภาพนี้คัดลอกมาจาก Nick Strobel's Astronomy Notes, http://www.astronomynotes.com/, copyright 1998-2002 by Nick Strobel. |
ลักษณะความเป็นคลื่นของแสงแสง หมายถึง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าตั้งฉากซึ่งกันและกันเคลื่อนที่ไปพร้อมกัน โดยทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นตั้งฉากกับทิศทางของสนามทั้งสอง (ดูภาพประกอบ)
ลักษณะความเป็นคลื่นของแสงระบุได้ด้วยสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งใน 3 อย่าง กล่าวคือ
ความถี่คลื่น (f): จำนวนการสั่นไหวของคลื่น (wave oscillatation) หรือจำนวนลูกคลื่นต่อวินาที วัดในหน่วย cm-1 (Hz)
ความเร็วคลื่น (V): สัมพันธ์กับความยาวคลื่นและความถี่คลื่นดังสมการ V = f วัดในหน่วย เมตรต่อวินาที เป็นต้น
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้น จะมีความถี่คลื่นสูง คลื่นที่มีความยาวคลื่นยาวจะมีความถี่ต่ำคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นคลื่นวิทยุ ไมโครเวพ อินฟราเรด อัลตราไวโอเล็ตรังสีเอ็กซ์ รังสีแกมมา ฯลฯ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากันหมด คือ ความเร็วแสง
แม้ว่าคลื่นแต่ละชนิดดังกล่าวจะมีพลังงานไม่เท่ากัน
การเลี้ยวเบน และการแทรกสอดว่ามีอยู่จริงและสามารถคำนวณผลลัพธ์ได้อย่างถูกต้อง
เช่น การทดลองให้แสงผ่านช่องเล็กยาวแบบคู่ของทอมัส ยัง ในปี
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)